หน้าเว็บ

วันอาทิตย์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2557

มหาเวสสันดรชาดก

                     มหาเวสสันดรชาดก เป็นชาดกเรื่องใหญ่ กล่าวถึงพระโพธิสัตว์ซึ่งเสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดร ได้บำเพ็ญบารมีอย่างสูงสุด    ยากเกินกว่าจะมีผู้ใดทำได้คือให้บุตรและภรรยาแก่ผู้ที่มาขอ นอกจากนั้นยังบำเพ็ญบารมีอันยิ่งใหญ่อื่นๆครบถ้วนทั้ง 10 ประการ  จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "มหาชาติ" และการเทศน์เรื่องพระเวสสันดรืก็เรียกว่าเทศน์มหาชาติมหาเวสสันดรชาดก  


มงคลสูตรคำฉันท์

   เมื่อ พ.ศ. 2466 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลที่ทรงนำมงคลสูตรมาทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทร้อยกรองประเกทคำฉันท์ โดยใช้คำประพันธ์ 2 ชนิด คือกาพย์ฉบัง 16 และอินทรวิเชียรฉันท์ 11 ทรงนำคาถาภาษาบาลีจากพระไตรปิฏกตั้ง 



ทุกข์ของชาวนาในบทกวี

        บทความเรื่อง ทุกข์ของชาวนาในบทกวี มีที่มาจากหนังสือรวบรวมบทพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เรื่อง มณีพลอยร้อยแสง ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดฯให้จัดพิมพ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2533 ในวโรกาสที่พระองค์ทรงเจริญพระชนมายุครบ 3 รอบ โดย นิสิตคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  


นิราศนรินทร์คำโคลง

   นิราศนรินทร์เรื่องนิราศนรินทร์นี้ นายนรินทรธิเบศร์ (อิน) แต่งขึ้นเมื่อคราวตามเสด็จสมเด็จพระบวร ราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์เสด็จยกกองทัพหลวงไปปราบพม่าซึ่งยกลงมาตีเมืองถลางและเมืองชุมพร เมื่อต้นรัชกาลที่ 2 ในพ.ศ. 2352 เป็นบทประพันธ์โคลงสี่สุภาพ 144 บท บทแรกเป็นร่ายสุภาพ 


นิทานเวตาลเรื่องที่10

๑) เวตาล  เป็นชื่อตัวละครตัวเอกของเรื่อง นิทานเวตาลมีหลายเรื่อง๒)  ผู้แปล  พระราชวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ (น.ม.ส.)พระนามเดิม พระองค์เจ้ารัชนี  แจ่มจรัสนามแฝง น.ม.ส. นำมาจากพยัญชนะตัวสุดท้ายของชื่อ และนามสกุล๓)  ลักษณะการแต่ง  ร้อยแก้วประเภทนิทาน  มีคำประพันธ์แทรกบ้างบางตอน  



อิเหนา ตอนศึกมึงกุหนิง

      อิเหนา เป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องของบทละครลำ เพราะเป็นหนังสือซึ่งแต่งดีทั้งกลอน ทั้งความ และทั้งกระบวนการที่ตะเล่นละครประกอบการ และยังเป็นหนังสือที่ดี ในทางที่ตะศึกษาประเพณีไทยสมัยโบราณ  แม้บทละครเรื่องอิเหนาจะมีเค้าโครงมาจากนิทานพื้นเมืองของชาวชวา  เอกสารที่เกี่ยวข้องมีดังนี้ 


คำนมัสการคุณานุคุณ

    คำนมัสการคุณานุคุณ เป็นผลงานการประพันธ์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อยอาจารยางกูร) มีเนื้อหาว่าด้วยการน้อมรำลึกและสำนึกในคุณงามความดีของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา และครูอาจารย์ โดยมีความมุ่งหมายให้ผู้อ่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไทย ยึดมั่นในความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณและนำแบบอย่างอันดีงามไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม